การแต่งกายภาคตะวันออก ในภาคตะวันออกการแต่งกายมีลักษณะเช่นเดียวกับคนภาค การแปล - การแต่งกายภาคตะวันออก ในภาคตะวันออกการแต่งกายมีลักษณะเช่นเดียวกับคนภาค อังกฤษ วิธีการพูด

การแต่งกายภาคตะวันออก ในภาคตะวันออก

การแต่งกายภาคตะวันออก

ในภาคตะวันออกการแต่งกายมีลักษณะเช่นเดียวกับคนภาคกลางเดิมที่ภาคนี้เรียกรวมกับคนภาคกลาง แต่เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศซึ่งต่างไปจากภาคกลางผลิตผลและภูมิอากาศคล้ายคลึงกับภาคใต้จังมีลักษณะเด่นขัดของตนเองที่แยกออกไปได้

ภาคกลางและภาคตะวันออก

ชุดไทย ร.5 - ตัวเสื้อเป็นผ้าลูกไม้เนื้อนุ่ม เอวใส่ลาสติกระบายสวยงามทั้งรอบคอและปลายแขนเสื้อ แขนตุ๊กตาติดกระดุมด้านหลังสวมใส่สบาย โจรกระเบนผ้าตราดลายไทยสอดดิ้น
เด็กหญิงในสมัยนี้ นุ่งโจงกระเบนเช่นเดียวกับผู้ใหญ่ ไม่สวมเสื้อเวลาออกงานจึงสวมเสื้อคอติดลูกไม้ที่เรียกว่า เสื้อคอกระเช้า เวลาแต่งตัวเต็มที่นุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อแขนยาวคอปิดแต่งด้วยผ้าลูกไม้งดงาม สวมถุงเท้า รองเท้า เจ้านายที่ทรงพระเยาว์ ทรงฉลองพระองค์แขนยาว พองและทรงเครื่องประดับมาก ยังคงนิยมไว้ผมจุก เมื่อตัดจุกแล้วจึงเริ่มไว้ผมยาว ได้กล่าวไว้แล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่มีพระราชประสงค์จะให้ชาวต่าง ประเทศดูหมิ่นเหยียดหยามคนไทยว่าแต่งกายเหมือนคนป่า จึงทรงกวดขันเรื่องนี้มากถึงกับโปรดให้ออกประกาศ 2 ฉบับ ใชับังคับราษฎร ฉบับแรกคือ
ประกาศห้ามคนแต่งตัวไม่สมควร มิให้ไปมาในพระราชฐานที่เสด็จออก โดยห้ามผู้ใหญ่ทั้งชายหญิงสวมแต่เสื้อชั้นในหรือไม่สวมเสื้อเลย หรือนุ่งกางเกงขาสั้นเหนือเข่า หรือนุ่งผ้าหยักรั้งไม่ปิดเข่าหรือนุ่งโสร่ง หรือสวมรองเท้าไม่มีถุงเท้า ไม่ว่ารองเท้าชนิดใด ๆ หรือสวมรองเท้าสลิปเปอร์ ตลอดจนเด็กที่เปลือยกายเข้ามาในบริเวณพระราชวังชั้นนอกด้านหน้ากับบริเวณวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ยกเว้นคนทำงานขนของก่อสร้าง กวาดล้าง ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนหรือพาเด็กหรือปล่อยเด็กที่แต่งกายไม่สมควรดังกล่าวล่วงเข้ามาในเขตที่กำหนดไว้ให้นายประตูขับไล่ห้ามปราม ถ้าไม่ฟังให้จับส่งศาลกระทรวงวังตัดสินโทษ ปรับไม่เกินคราวละ 20 บาท หรือขังไว้ใช้การไม่เกินคราวละ 15 วัน หรือทั้งปรับทั้งขังตามควรแก่โทษ ถ้าผู้ทำผิดเป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีลงไป บิดามารดาหรือมูลนายหรือผู้เลี้ยงดูเด็กนั้น จะต้องรับโทษแทนทุกประการ ประกาศเมื่อวันที่ 20 มกราคม ร.ศ.117 (พ.ศ.2441) ให้ใช้บังคับตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ ร.ศ.117 เป็นต้นไป
ชุดราชปแตน - เป็นชุดไทยสำหรับท่านชายแบบทางการใช้ได้กับการใส่เพื่อเข้าร่วมงานพิธีแบบไทย หรือเป็นชุดสำหรับเจ้าบ่าว ในพิธีหมั้นหรือพิธีมงคลสมรส ชุดนี้โดยปกติจะใส่กับโจงกระเบนมีให้เลือก 8 สีด้วยกันตัดเป็นสำเร็จรูปขอบยางยืด
เครื่องแต่งกายของชายไทยในสมัยต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนี้ได้ปรับปรุงตามแบบประเพณีนิยมสากลของชาวตะวันตกเป็นครั้งแรก แต่หลังจากเสด็จประพาสอินเดีย-พม่า ในปี พ.ศ.2414 แล้ว มีพระราชดำริว่า การสวมเสื้อนอกแบบฝรั่งซึ่งต้องมีเสื้อเชิ้ต สวมข้างในแล้วยัง มีผ้าผูกคออีกด้วยนั้น ไม่เหมาะสมกับอากาศร้อนของเมืองไทย จึงโปรดให้ดัดแปลงเป็นเสื้อนอกสีขาวคอปิดติดกระดุมตลอดอก 5 เม็ด เรียกว่า “เสื้อราชแปตแตนท์ (RajPattern) ซึ่งต่อมาเรียกเพี้ยนไปเป็น “เสื้อราชปะแตน” ซึ่งแปลว่า “แบบหลวง” แต่ยังคงนุ่งผ้าม่วงสีกรมท่าเหมือนเดิม ในสมัยนี้ นิยมสวมหมวกแบบยุโรปหรือหมวกหางนกยูง ถือไม้เท้า ซึ่งมักจะใช้คล้องแขนจึงเรียกว่า “ไม้ถือ” ต่อมาในปี พ.ศ. 2439 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ทหารนุ่งกางเกงขายาวแทนผ้าม่วงโจงกระเบนสีกรมท่า เป็นผลให้ประชาชนเริ่มนิยมนุ่งกางเกงขายาวและสวมหมวกกะโล่กันขึ้นบ้างในตอนปลายรัชกาล
การแต่งกายของชายทั่วไป ยังคงนิยมแต่งกายตามสบายเช่นเดียวกับสมัยรัชกาลก่อน ๆ คือ นุ่งผ้าลอยชาย มีผ้าขาวม้าหรือผ้าอะไรก็ได้แต่ะบ่าคลุมไหลหรือคาดพุง ซึ่งคงจะเป็นประเพณีการแต่งกายของคนไทยตามปกติมาแต่โบราณและคาดพุง ไม่นิยมใช้ผ้าแตะบ่า การนุ่งลอยชาย คือ การเอาผ้าทั้งผืนนั้นมาโอบหลังกะให้ชายผ้าข้างหน้าเท่ากัน แล้วขมวดชายพก ค่อนข้างใหญ่เหน็บแน่นติดตัว แล้วทิ้งชายห้อยลงไปข้างหน้า การนุ่งผ้าลอยชายนี้ บางคนชอบนุ่งใต้สะดือ ชายพกที่ค่อนข้างใหญ่นี้เพื่อเก็บกล่องหรือหีบบุหรี่ที่ตนชอบ ส่วนผ้าคาดพุงไม่ว่าจะเป็นผ้าขาวม้าหรือผ้าส่านหรือผ้าอะไรผูกเป็นโบเงื่อนกระทก ไว้ข้างหน้า ทิ้งชายผ้าลงมาเล็กน้อย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
แต่ง owner กาย ภาค ตะวันออกใน ภาค ตะวันออก owner แต่ง กาย ลักษณะ เช่น เดียว มี กับ คน ที่ ภาค กลาง ภาค เดิม เรียก นี้ รวม คน กับ ภาค กลาง แต่ เนื่องจาก ลักษณะ ภูมิประเทศ ซึ่ง ต่าง จาก ไป ภาค กลาง และ ผลิตผล ภูมิ อากาศ คล้ายคลึง กับ จัง มี ภาค ใต้ ลักษณะ Translation of เด่น ขัด ตนเอง แยก ออก ไป ได้ ที่ภาค กลาง และ ภาค ตะวันออกไทย ชุด ร. 5 - เสื้อ ตัว เป็น ผ้าลูกไม้ เนื้อ นุ่ม เอว ใส่ ลา สติ ก ระบาย สวยงาม ทั้ง รอบ ปลาย แขน เสื้อ คอ และ ด้าน หลัง แขน ตุ๊กตา ติดกระดุม สวม ใส่ สบาย โจร กระเบน ผ้า ไทย ตราด ลาย สอด ดิ้นเด็กหญิง ใน นี้ สมัย นุ่ง โจงกระเบน เช่น เดียว ผู้ใหญ่ กับ เวลา ไม่ ออก งาน จึง สวม สวม เสื้อ เสื้อ คอ ติด ลูกไม้ เรียก ว่า ที่ เวลา แต่งตัว เต็มที่ นุ่ง โจงกระเบน สวม คอกระเช้า เสื้อ เสื้อ คอ ยาว แขน ปิด แต่ง ด้วย ผ้าลูกไม้ งดงาม สวม ถุงเท้า รองเท้า เจ้านาย ที่ ทรง พระ เยาว์ ทรง ฉลองพระองค์ แขน ยาว พอง และ ทรง เครื่องประดับ มาก ยัง คง นิยม ไว้ ผม จุก เมื่อ ตัด จุก แล้ว จึง เริ่ม ไว้ ผม ยาว ได้ กล่าว ไว้ แล้ว พระบาท สมเด็จ พระ จุลจอมเกล้า เจ้า อยู่ หัว ไม่มี พระ ราช ประสงค์ จะ ให้ ชาว ต่าง ประเทศ ดูหมิ่น เหยียดหยาม ว่า คน ไทย คน แต่ง กาย เหมือน ป่า จึง ทรง กวดขัน ถึง กับ เรื่อง นี้ มาก โปรด ให้ ออก ประกาศ 2 ฉบับ ใชั บังคับ ราษฎร ฉบับ แรก คือประกาศ ห้าม คน ไม่ แต่งตัว สมควร มิ มา ให้ ไป ใน พระ ราชฐาน โดย ที่ ออก เสด็จ ห้าม ผู้ใหญ่ ทั้ง ชาย หญิง สวม แต่ เสื้อ ชั้น ใน หรือ ไม่ สวม เสื้อ เลย หรือ นุ่ง กางเกง ขา สั้น เหนือ เข่า หรือ นุ่ง ผ้า หยักรั้ง ไม่ ปิด เข่า หรือ นุ่ง โสร่ง หรือ สวม รองเท้า ไม่มี ถุงเท้า ไม่ ว่า รองเท้า ชนิด ใด ๆ หรือ สวม รองเท้า สลิป เปอร์ ตลอด จน เด็ก ที่ เปลือยกาย เข้า มา ใน บริเวณ พระราชวัง ชั้น นอก ด้านหน้า กับ บริเวณ วัด พระ ศรีรัตนศาสดาราม ยกเว้น คน ทำงาน ขน ของ ก่อสร้าง กวาดล้าง ถ้า ผู้ ใด ฝ่าฝืน หรือ พา เด็ก หรือ ปล่อย เด็ก ที่ แต่ง กาย ไม่ สมควร ดัง กล่าว ล่วง เข้า มา ใน เขต ที่ กำหนด ไว้ ให้ นาย ประตู ขับ ไล่ ห้ามปราม ถ้า ไม่ ฟัง ให้ จับ ส่ง ศาล กระทรวง วัง ตัดสิน โทษ ปรับ ไม่ เกิน คราว ละ 20 บาท หรือ ขัง ไว้ ใช้ การ ไม่ เกิน คราว ละ 15 วัน หรือ ทั้ง ปรับ ทั้ง ขัง ตาม ควร แก่ โทษ ถ้า ผู้ ทำ ผิด เป็น เด็ก อายุ ต่ำ กว่า 15 ปี ลง ไป บิดา มารดา หรือ มูล นาย หรือ ผู้ เลี้ยงดู เด็ก นั้น จะ ต้อง รับ โทษ แทน ทุก ประการ ประกาศ เมื่อ วัน ที่ 20 มกราคม ร.ศ. 117 (พ.ศ. 2441) ให้ ใช้ บังคับ ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ ร.ศ. 117 เป็นต้น ไปชุด ราช ป แตน - เป็น ชุด ไทย สำหรับ ท่านชาย แบบ ทางการ ใช้ได้ กับ การ ใส่ เพื่อ เข้า ร่วม งาน พิธี แบบ ไทย หรือ เป็น ชุด สำหรับ เจ้าบ่าว ใน พิธี หมั้น หรือ พิธี มงคล สมรส ชุด นี้ โดย ปกติ จะ ใส่ กับ โจงกระเบน มี ให้ เลือก 8 สี ด้วย กัน ตัด เป็น สำเร็จรูป ขอบ ยาง ยืดเครื่อง แต่ง กาย Translation of ชาย ไทย ต้น ใน สมัย รัชกาล พระบาท สมเด็จ พระ จุลจอมเกล้า หัว เจ้า อยู่ นี้ ได้ ตาม แบบ ปรับปรุง ประเพณีนิยม สากล Translation of ชาว ตะวันตก เป็น ครั้ง แรก แต่ หลังจาก เสด็จ ประพาส อินเดีย - พม่า ใน ปี พ.ศ. 2414 แล้ว มี พระ ราชดำริ ว่า การ สวม เสื้อ นอก แบบ ฝรั่ง ซึ่ง ต้อง มี เสื้อ เชิ้ต สวม ข้าง ใน แล้ว ยัง มี ผ้า ผูก คอ อีก ด้วย นั้น ไม่ เหมาะสม กับ อากาศ ร้อน ของ เมือง ไทย จึง โปรด ให้ ดัดแปลง เป็น เสื้อ นอก สี ขาว คอ ปิด ติดกระดุม ตลอด อก 5 เม็ด เรียก ว่า "เสื้อ ราช แป ต แตน ท์ (RajPattern) ซึ่ง ต่อ มา เรียก เพี้ยน ไป เป็น" เสื้อ ราชปะแตน "ซึ่ง แปล ว่า" แบบ หลวง "แต่ ยัง คง นุ่ง ผ้า ม่วง สี กรมท่า เหมือน เดิม ใน สมัย นี้ นิยม สวม หมวก แบบ ยุโรป หรือ หมวก หางนกยูง ถือ ไม้เท้า ซึ่ง มัก จะ ใช้ คล้อง แขน จึง เรียก ว่า "ไม้ ถือ" ต่อ มา ใน ปี พ.ศ. 2439 พระบาท สมเด็จ พระ จุลจอมเกล้า เจ้า อยู่ ให้ หัว โปรด ทหาร นุ่ง กางเกง ขา แทน ยาว ผ้า สี ม่วง โจงกระเบน กรมท่า เป็น ผล ให้ ประชาชน เริ่ม นิยม นุ่ง กางเกง ขา สวม หมวกกะโล่ กัน ยาว และ ขึ้น ใน ตอน บ้าง ปลาย รัชกาลowner แต่ง กาย Translation of ชาย ทั่วไป ยัง คง นิยม แต่ง กาย ตาม สบาย เช่น เดียว กับ สมัย รัชกาล ก่อน ๆ คือ นุ่ง ผ้า ลอยชาย มี ผ้าขาวม้า หรือ ผ้า อะไร ก็ได้ แต่ะ บ่า คลุม ไหล หรือ คาด พุง ซึ่ง คงจะ เป็น ประเพณี การ แต่ง กาย ของ คน ไทย ตาม ปกติ มา แต่ โบราณ และ คาด พุง ไม่ นิยม ใช้ ผ้า แตะ บ่า การ นุ่ง ลอยชาย คือ การ เอา ผ้า ทั้ง ผืน นั้น มา โอบ หลัง กะ ให้ ชาย ผ้า ข้าง หน้า เท่า กัน แล้ว ขมวด ชาย พก ค่อนข้าง ใหญ่ เหน็บ แน่น ติดตัว แล้ว ทิ้ง ชาย ห้อย ลง ไป ข้าง หน้า การ นุ่ง ผ้า ลอยชาย นี้ บาง คน ชอบ นุ่ง ใต้ สะดือ ชาย พก ที่ ค่อนข้าง ใหญ่ นี้ เพื่อ เก็บ กล่อง หรือ หีบ บุหรี่ ที่ ตน ชอบ ส่วน ผ้า คาด พุง ไม่ ว่า จะ เป็น ผ้าขาวม้า หรือ ผ้า ส่าน หรือ ผ้า อะไร ผูก เป็น โบ เงื่อน กระทก ไว้ ข้าง หน้า ทิ้ง ชาย ผ้า ลง มา เล็กน้อย










การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: